ก่อนอื่น คุณต้องรู้ก่อนว่า สมเด็จวัดระฆังของแท้ ต้องมีอายุมากกว่า 160 ปี
เพราะ สมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี มรณภาพ เมื่อปี พ.ศ. 2415 ซึ่งมรณภาพมาแล้วมากกว่า 150 ปี
คุณเลือกที่จะเชื่อใคร ระหว่าง พ่อค้าพระที่มีอายุไม่ถึง 160 ปี กับ
ผลการตรวจหาอายุองค์พระ ที่ได้การตรวจหาอายุวัตถุโบราณที่ใช้กับใน พิพิธภัณฑ์ทั่วโลก?
เราจะช่วยให้คุณประหยัดเวลาในการตามหา พระสมเด็จวัดระฆังแท้ สัก 1 องค์
คุณจะประหยัดเวลาในการ ศึกษาตำรา จากการสังเกตตำหนิต่างๆ ของแต่ละพิมพ์ ซึ่งมีไม่ต่ำกว่า 5 พิมพ์
ประหยัดเวลาในการ ส่องกล้องขยายเพื่อดูมวลสาร ส่วนประกอบต่างๆ ที่อยู่ในองค์พระ
หรือคุณกำลังตามหาพระแท้จากท้องตลาด โดยแอบหวังลึกๆว่า จะเจอพระแท้หลักล้าน จากกองพระสมเด็จ ที่ราคาหลักร้อย
ถ้าเกณฑ์ชี้ขาด ยังไม่นิ่ง พระสมเด็จของปลอม กับ ของจริง จะถูกอิงกับความรู้สึกของคุณอยู่ดี
จึงไม่แปลก ที่ทุกวันนี้ จะมีคนสะสมพระสมเด็จวัดระฆังตามความรู้สึกของตน ประเภทที่เรียกว่า “แท้อยู่คนเดียว”
คุณจะเลือกเก็บสะสม พระสมเด็จวัดระฆังแบบไหน
ระหว่าง แบบแรก ซึ่ง แท้ตามตำรา บวกกับ ความเห็นส่วนตัว ของผู้เชี่ยวชาญไม่กี่คน
กับ แบบที่สอง ซึ่งแท้ตามตำรา และมีอายุมากกว่า 160 ปี โดยผ่านการตรวจสอบหาอายุองค์พระตามวิธีการหาอายุวัตถุโบราณที่ใช้กันในพิพิธภัณฑ์ทั่วโลก
ทุกวันนี้ มีเทคโนโลยีในการตรวจหาอายุของวัตถุโบราณอย่างแม่นยำ และเป็นสากลทั่วโลก
“ผู้ที่ยัง แคลงใจ กับ ตัวเลขที่เขียนบอกอายุของวัตถุโบราณ ตอนที่คุณเดินเที่ยวในพิพิธภัณฑ์ ก็หันไปแขวนพระสมเด็จวัดระฆัง แบบแรก ได้เลย”
ตระกูลผมมีพระสมเด็จวัดระฆังอยู่หลายองค์ แต่ผ่านการตรวจสอบความแท้ โดยผู้เชี่ยวชาญเพียง 5 องค์ ผมมีทางเลือก 2 ทาง ทางแรกคือ จินตนาการไปคนเดียวเลยว่า ผมมีพระสมเด็จวัดระฆังแท้ถึง 5 องค์
เพราะการนำพระสมเด็จ ไปตรวจหาอายุตามหลักของพิพิธภัณฑ์ มีค่าใช้จ่ายองค์ละ 30,000 บาท ถ้านำไปตรวจ 5 องค์ จะต้องมีเงินในกระเป๋าถึง 150,000 บาท
ถ้าคุณเป็นผม คุณจะเลือกแบบไหน ระหว่าง นอนกอดพระสมเด็จที่คิดว่าแท้ทั้ง 5 องค์ แล้วเก็บเงิน 150,000 บาท ไว้ในกระเป๋า กับ ควักเงิน 150,000 บาท แล้วนำพระแท้ทั้ง 5 องค์ ไปตรวจหาอายุให้รู้แจ้งกันไปเลย….
ผมเลือกวิธีที่สอง นั่นคือ นำพระทั้ง 5 องค์ เข้าไปตรวจหาอายุ ซึ่งต้องมีค่าใช้จ่ายองค์ละ 30,000 บาท รวม 150,000 บาท
ไม่ใช่ พระสมเด็จวัดระฆัง ทุกองค์ ที่ ดูว่าแท้ตามตำรา แล้วจะมีอายุองค์พระมากกว่า 160 ปี
ผลการตรวจออกมา มีเพียง 2 องค์เท่านั้น ที่มีอายุมากกว่า 160 ปี (ทัน ในสมัยที่สมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ยังมีชีวิตอยู่)
ส่วน อีก 3 องค์ ค่าตรวจ 90,000 บาท ผมจ่ายไปนั้น แม้จะไม่ได้อะไรกลับมา แต่อย่างน้อย ผมก็ได้รู้ว่า อายุขององค์พระ ไม่ถึง 160 ปี
ถ้าคุณต้องการสมพระสมเด็จมาเสริมบารมีทั้งสัก 1 องค์ ควรสะสมองค์ที่มีอายุ มากกว่า 160 ปี จะดีกว่าไหม?
“หรือถ้าคุณยัง ขวยเขิน กับ ตัวเลขที่เขียนบอกอายุของวัตถุโบราณ ตอนที่คุณเดินเที่ยวในพิพิธภัณฑ์ ก็หันไปแขวนแบบแรกได้เลย”
คุณอยากได้องค์ไหนไว้เสริมบารมี ติดต่อผมได้ทางไลน์ด้านล่างนี้ ยินดีส่งมอบให้คุณเพื่อนำไปประดับบารมีครับ